วันอาทิตย์ที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2556

รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมผิวเตอร์แบบวงแหวน

รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบวงแหวน (ring topology)

โครงสร้างเครือข่ายแบบวงแหวน ring topology

โครงสร้างเครือข่ายแบบวงแหวน ring topology
การเชื่อมต่อแบบวงแหวน (RING TOPOLOGY) เป็นการเชื่อมต่อเครือข่าย เป็นรูปวงแหวนหรือแบบวนรอบ โดยสถานีแรก เชื่อมต่อกับสถานีสุดท้าย การรับส่งข้อมูลในเครือข่ายจะต้องผ่านทุกสถานี โดยมีตัวนำข่าวสาร วิ่งไปบนสายสัญญาณ ของแต่ละสถานี ต้องคอยตรวจสอบข้อมูลที่ส่งมา ถ้าไม่ใช่ของตนเอง ต้องส่งผ่านไปยังสถานีอื่นต่อไป ตัวอย่างเช่น การเชื่อมต่อของIBM Token Ring ที่ต้องมีตัวนำข่าวสาร หรือ Token นำข่าวสารวิ่งวนไปรอบสายสัญญาณหรือ Ring แต่ละสถานีจะคอยตรวจสอบ Token ว่าข่าวสารที่นำมาด้วยเป็นของตนหรือไม่ ถ้าใช่ก็จะรับข่าวสารนั้นไว้ แล้วส่ง Token ให้สถานีอื่นใช้ต่อไปได้
ข้อดี ของการเชื่อมต่อแบบนี้คือ ใช้สายส่งสัญญาณน้อยกว่าแบบดาว เหมาะกับการเชื่อมต่อ ด้วยสายสัญญาณใยแก้วนำแสง เพราะส่งข้อมูลทางเดียวด้วยความเร็วสูง

ข้อเสีย คือถ้าสถานีใดเสีย ระบบก็จะไม่สามารถทำงานต่อไปได้ จนกว่าจะแก้ไขจุดเสียนั้น และยากในการตรวจสอบว่ามีปัญหาที่จุดใด และถ้าต้องการเพิ่มสถานีเข้าไป จะกระทำได้ยาก

รายชื่อสมาชิกไฟฟ้าอุตสาหกรรม

รายชื่อสมาชิกไฟฟ้าอุตสาหกรรม

1. อาจารย์ ธภัทร  ชัยชูโชค  อ.ปาล์ม
2. นายนิโรจน์ หวันปรัตน์   ซอล
3.นายรชต อารี   รอน

4. นายรุสดี วาลี   ซี
5. นายอับดุลเลาะ กาโฮง   เลาะ
6. นาย อภิวัฒน์   เจิมขวัญ   กุ้ง
7. นาย ชัยยงค์   ชูแก้ว 
 ปั๊ม
8. นาย วิโรจน์   เหมมาน   
ลิฟ
9. นาย อาคม   เรืองกูล   
แบงค์
10. นาย อนุพงษ์   เทพพรหม  
 ทิว
11. นายกฤษกร สุวรรณวงศ์   เอฟ
12. นายจตุพงค์ ณ สงขลา   พงค์
13.  นายจิรกิตต์ สุขเกษม   บอย
14.  นายจิรพงศ์ แจ่มศรี   เอฟ
15. นายเชิดชาย เรืองฤทธิ์   ชาย
16. นายตวิษ เพ็งศรี   บ่าว
17. นายธีรวุฒิ ศรีสวัสดิ์   วุฒิ
18. นายนพรัตน์ แก้วกำเนิด   เอ็กซ์
19. นายนันทปรีชา ปิยะ บุญสนอง   โปร
20. นายนิรันดร์ เสมอพบ   แบ
21. นายปภังกร เอียดจุ้ย   กิ๊ฟ
22. นายปรินทร์ ผุดผ่อง   บอล
23. นายพิชชากร มีบัว   กร     
24. นายพีระพงศ์ จันทร์ชู   พงศ์
25. นายภาคภูมิ จุลนวล  เจ
26. นางสาวเยาวเรศ ร่วมพรภาณุ   โรส
27. นายวสุ ราชสีห์   หนัง
28. นายวัชรินทร์ เขียนวารี  ปอนด์
29. นายวิฆเนศ ณ รังษี   หมู
30. นายวิโรจน์ เหมมาน   ลิฟ
31. นายศุภวัฒน์ ไชยของพรม   รุส
32. นายสมประสงค์ วงศ์สุวรรณ   ทู 
33. นายสมศักดิ์ มากเอียด   กล้วย
34. นายสราวุฒิ เกบหมีน  ซอล
35. นายสานิต มิตสุวรรณ   ปอ
36. นายสุรเดช สม่าแห   ยา
37. นายสุรศักดิ์ สะเกษ   โจ้
38. นายเสะมาดี ดูแวดาแม เสะมาดี 
39. นายอนิรุตต์ ภาระบุญ   โต๋
40. นายอภิเดช ทองอินทร์   โหนด
41. นายอภิสิทธิ์ ยะโกบ   ดุล
42. นายอับดุลรอมัน บูกา  รอมัน
43. นายอาจณรงค์ ราชูภิมนต์  มิค
44. นายอานนท์ นาควิเชียร   นนท์
45. นายอาลียะ สะอุ   ฟาน
46. นายอิสมาแอ   มะยี 
47. นายจตุรงค์ หิรัญกูล  
 นิว
48. นายเกรียงศักดิ์   บุญประเสริฐ  
 เบียร์
49. นายพุฒิพงศ์   หนูนอง   
เพชร
50.นาย วงศธร อินทมะโน หลวงหมีด

วันเสาร์ที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ใบงานที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสาร

การสื่อสารผ่านดาวเทียม



การสื่อสารผ่านดาวเทียม เป็นการสื่อสารที่มีสถานีรับอยู่ที่พื้นดิน ส่งตรงขึ้นไปยังดาวเทียมแล้วส่งลงมายังตัวรับที่พื้นดินอีกครั้งหนึ่ง ดาวเทียวจึงเสมือนเป็นสถานีถ่ายทอดสัญญาณที่ดียิ่ง เพราะลอยอยู่บนท้องฟ้าในระดับสูงมาก
ประเทศไทยเริ่มใช้ดาวเทียมสื่อสารครั้งแรกตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2510 การสื่อสารแห่งประเทศไทยตั้งสถานีภาคพื้นดินที่อำเภอศรีราชา ชลบุรี โดยเช่าช่องสัญญาณจำนวน 13 ช่องสัญญาณ เพื่อการติดต่อสื่อสารระหว่างประเทศดาวเทียมที่ใช้ในยุคแรกเป็นของบริษัท ยูอาร์ซีเอ ซึ่งเป็นดาวเทียมทางทหารของสหรัฐอเมริกา
ใน พ.ศ. 2522 สถานีโทรทัศน์ในประเทศไทยได้มีการขยายเครือข่ายทั่วประเทศ ในการนี้มีการเช่าช่องสัญญาณจากดาวเทียมปาลาปาของอินโดนีเซีย ทำให้ระบบการถ่ายสัญญาณโทรทัศน์ของประเทศไทยกระจายไปยังเมืองใหญ่ๆ ได้ทั่วประเทศ จานรับสัญญาณดาวเทียมปาลาปามีขนาดใหญ่เส้นผ่าศูนย์กลาง 1-3 เมตร ซึ่งนับว่าเป็นจานขนาดใหญ่พอสมควร การถ่ายทอดสัญญาณโทนทัศน์ผ่านดาวเทียมทำได้ง่ายเพราะไม่ต้องเสียเวลาเดินสายหรือเชื่มโยงด้วยไมโครเวฟ
ดาวเทียมค้างฟ้า เป็นดาวเทียมที่ต้องอยู่บริเวณเหนือเส้นศูนย์สูตรและโคจรรอบโลก 1 รอบ ใน 1 วัน พอดีกับเวลาที่โลกหมุนรอบตัวเอง ระดับความสูงและความเร็วในการโคจรต้องเหมาะสม ดาวเทียมค้างฟ้าที่ใช้สื่อสารอยู่ในระดับความสูง 42,184.2 กิโลเมตร
การสื่อสารผ่านดาวเทียมในประเทศไทยจึงเป็นอีกก้าวหนึ่งที่ทำให้ประเทศไทยมีทางเลือกของการสื่อสารมากขึ้น การรับรู้ข้อมูลข้าวสารจะทำได้เร็วขึ้น การส่งสัญญาณผ่านดาวเทียมเป็นหนทางหนึ่งที่จะส่งไปยังพื้นที่ใดๆ ก็ได้ในประเทศ แม้จะอยู่ในป่าเขาหรือมีสิ่งกีดขวางภาคพื้นดิน
ดังนั้นการกระจายข่าวสารในอนาคตจะมีบทบาทเพิ่มขึ้น การใช้ข้อมูลข่าวสารจะเจริญเติบโตไปพร้อมกับความต้องการ หรือการกระจายตัวของระบบสื่อสาร

ศูนย์ฯ มีหน้าที่ในการให้บริการวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการแปลข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม โดยเฉพาะในด้านการเกษตร การสำรวจทรัพยากรธรรมชาติ การเตือนภัยพิบัติ ซึ่งสามารถนำไปวิเคราะห์ต่อยอดการใช้งานภายในหน่วยงาน โดยปัจจุบันศูนย์ฯ ได้มีการให้บริการร่วมกับกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในเรื่องการวิเคราะห์ภัยดินถล่ม และการแจ้งเตือนภัยพิบัติ กรมชลประทานในเรื่องการติดตามการใช้ประโยชน์พื้นที่ชลประทาน และสำนักฝนหลวงและการบินการเกษตรในเรื่องการวิเคราะห์พื้นที่แห้งแล้ง หรือแม้แต่หน่วยงานภายในที่ร้องขอข้อมูลเพื่อใช้ในการประเมินความเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ และผลงานที่ผ่านมาของศูนย์ฯ ได้แก่
1. การประเมินปัจจัยเสี่ยงภัยดินถล่มด้วยภาพถ่ายดาวเทียม
เนื่องจากปัจจัยในการเกิดดินถล่มในประเทศไทยมีปัจจัยหลักๆ อยู่เพียง 6 ชนิด ที่ประกอบไปด้วยปัจจัยทั้งที่คงที่ และไม่คงที่ โดยการประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมสำรวจทรัพยากรธรรมชาติ และดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา จะทำให้สามารถช่วยในการประเมินปัจจัยได้อย่างเหมาะสมได้แก่ ปริมาณน้ำฝน ความสูง ความชัน และสิ่งปกคลุมดิน ซึ่งจะนำไปสร้างเป็นแผนที่โอกาศเกิดดินถล่ม
2. การประเมินความชุ่มชื้นในดินร่วมกับภาพ HSI
เป็นการวิจัยเพื่อใช้ในการวัดค่าความชุ่มชื้นในดิน เพื่อนำมาวิเคราะห์ในเรื่องสภาพความเหมาะสมในการเพาะปลูก ว่าควรจะปลูกพืชประเภทไหน การชลประทานในเรื่องการจัดการด้านน้ำ การเสี่ยงภัยในการเกิดภัยพิบัติ โดยใช้ภาพถ่าย Hyper Spectrum มาตรวจสอบ เพื่อให้เห็นความเปลี่ยนแปลงของสภาพพื้นที่ ซึ่งผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นก็คือ ความสามารถในการคาดการณ์ปริมาณความชุ่มชื้นในดินที่ความลึก 30 และ 60 เซนติเมตร เพื่อนำไปประเมินทรัพยากรหรือความเหมาะสมในด้านการเกษตร หรือการจัดการทรัพยากรธรรมชาติได้



ขั้นตอนและวิธีการในการประเมินความชุ่มชื้นภายในดินกับการพยากรณ์จากภาพถ่ายดาวเทียม

3. การตรวจสอบพื้นที่การเกษตรด้วย Spectrum Library
เป็นการสร้าง Spectrum Library สำหรับพืชเศรษฐกิจ 5 ชนิด ได้แก่ ข้าว มันสัมปะหลัง อ้อย ยางพารา และสัปปะรด โดยการวัดค่าอ้างอิงจากในพื้นที่เพาะปลูก เพื่อสร้าง Spectrum และนำไปเปรียบเทียบกับภาพถ่ายดาวเทียมแบบ Hyperspectrum ทำให้สามารถทราบได้ถึงพื้นที่ในการเพาะปลูกได้อย่างชัดเจน



ลักษณะของ Spectrum พืช 5 ชนิดได้แก่ ข้าว อ้อย สัปปะรด มันสัมปะหลัง และยางพารา ช่วงของสเปคตรัมของพืช 5 ชนิดในย่านสีน้ำเงิน เขียว และแดงที่ใช้ในการพิจารณาร่วมกับภาพถ่ายดาวเทียมแบบ Hyper Spectrum

4. การตรวจจับความเปลี่ยนแปลงของพื้นที่
เป็นการติดตามสถานการณ์ของทรัพยากรธรรมชาติที่ส่งผลกระทบรุนแรงในพื้นที่ของประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็นสถานการณ์น้ำของประเทศ การวิเคราะห์พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก การบุกรุกป่าไม้ และพื้นที่อุทยานแห่งชาติ ปัญหาเรื่องมลพิษทางอากาศ และการกัดเซาะชายฝั่ง เป็นต้น รวมถึงการติดตาม และประเมินความเสียหายของพื้นที่จากภัยพิบัติ การออกแบบระบบสื่อสารสำรองในภาวะภัยพิบัติ ด้วยการบูรณาการภาพถ่ายดาวเทียมร่วมกับปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งการดำเนินการตามภารกิจดังกล่าวเป็นตรวจสอบความเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ และวิเคราะห์ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นโดยอ้างอิงจากฐานข้อมูลที่มี รวมถึงสร้างคลังข้อมูลสำหรับใช้ในการตรวจสอบในด้านทรัพยากรธรรมชาติ

การติดตามสถานการณ์น้ำ (ซ้าย) บริเวณพื้นที่เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ตั้งแต่วันที่ 6 มีนาคม 2552 จนถึง 19 มกราคม 2553 และ (ขวา) บริเวณพื้นที่เขื่อนศรีนครินทร์แบบ 3 มิติ ในช่วง 14 พฤศจิกายน 2552 จนถึง 4 กุมภาพันธ์ 2553 ด้วยข้อมูลภาพ CCD จากดาวเทียม SMMS โดยติดตามการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ และการใช้ประโยชน์พื้นที่

5. การแยกแยะผลผลิตทางการเกษตรด้วยการใช้ Spectrum จากภาพถ่ายดาวเทียม
สืบเนื่องจากจากการตรวจสอบพื้นที่การเกษตร ทำให้คณะผู้วิจัยสามารถแยกแยะช่วงอายุของพืชออกจากกันได้ ซึ่งจะทำให้สามารถประเมินผลผลิตที่เกิดจากการเกษตรได้เป็นอย่างดี โดยการวิจัยนี้จะต้องวัดค่า Spectrum ของพืชในแต่ละช่วงอายุมาสร้าง Spectrum Library เพื่อให้ภาพถ่ายดาวเทียมสามารถแยกแยะและประเมินพื้นที่ในการเกิดผลผลิตทางการเกษตรได้อย่างมี ประสิทธิภาพ

Spectrum Library ของข้าวในพื้นที่หนองจอก กรุงเทพฯ โดยตรวจสอบข้าวในแต่ละช่วงอายุ ซึ่งมีความแตกต่างกัน

6. การประเมินการออกแบบและติดตั้งเสาวิทยุ หรือสถานี
สำหรับการวิจัยนี้เป็นการนำข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมไปใช้ร่วมกับข้อมูล G-DEM เพื่อนำไปประเมินในการสร้างการติดตั้งเสาส่งสัญญาณ ว่ามีรัศมีครอบคลุมเท่าไหร และความคมชัดเป็นอย่างไรในการติดต่อสื่อสาร ซึ่งเป็นพื้นฐานหลักในการทำงานทุกประเภท และในกรณีเกิดภัยพิบัติยังสามารถนำไปวิเคราะห์ในการติดตั้งระบบสื่อสารสำรองได้เป็นอย่างดี
การใช้ภาพถ่ายดาวเทียม SMMS ประยุกต์ร่วมกับข้อมูล G-DEM เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ในการติดตั้งอุปกรณ์การสื่อสารสำรองในพื้นที่เกิดภัยพิบัติ ด้วยซอฟต์แวร์ Global Mapper
ในอนาคตสถานีภาคพื้นดินจะได้รับการปรับปรุงเพิ่มเติมเพื่อให้สามารถรับภาพถ่ายแบบ SAR จากดาวเทียมดวงอื่นๆ ภายใต้ความร่วมมือระหว่างประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นภาพถ่ายทะลุเมฆ และอาจนำมาใช้เป็นข้อมูลร่วมเพื่อบริหารจัดการภัยพิบัติได้มากยิ่งขึ้น และเป็นฐานข้อมูลในการวิเคราะห์ความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับกับทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทยอีกด้วย
 
ดาวเทียม (Satellite) ได้รับการพัฒนาขึ้นมาเพื่อหลีกเลี่ยงข้อจำกัดของสถานีรับ-ส่งไมโครเวฟบนผิว โลก วัตถุประสงค์ในการสร้างดาวเทียมเพื่อเป็นสถานีรับ-ส่งสัญญาณไมโครเวฟบนอวกาศ และทวนสัญญาณในแนวโคจรของโลก ในการส่งสัญญาณดาวเทียมจะต้องมีสถานีภาคพื้นดินคอยทำหน้าที่รับและส่งสัญญาณ ขึ้นไปบนดาวเทียม ที่โคจรอยู่สูงจากพื้นโลก 22,300 ไมล์ โดยดาวเทียมเหล่านั้นจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่เท่ากับการหมุนของโลก จึงเสมือนกับดาวเทียมนั้นนิ่งอยู่กับที่ขณะที่โลกหมุนรอบตัวเอง ทำให้การส่งสัญญาณไมโครเวฟจากสถานีหนึ่งขึ้นไปบนดาวเทียมและการกระจายสัญญาณ จากดาวเทียมลงมายังสถานีตามจุดต่างๆ บนผิวโลกเป็นไปอย่างแม่นยำ เราสามารถส่งดาวเทียมชนิด Geostationary ซึ่งหมุนโคจรด้วยความเร็วเท่ากับโลก โดยนำขึ้นไปโคจรเหนือผิวโลกเพียง 3 ดวง ก็สามารถครอบคลุมการสื่อสารได้ทั่วโลก ดาวเทียมดวงหนึ่งส่งสัญญาณในบริเวณกว้างเท่ากับ 1 ใน 3 ของโลก (120 องศา) ดังนั้นดาวเทียมเพียง 3 ดวงก็คลอบคลุมบริเวณพื้นโลกได้ทั้งหมด (360 องศา) ดาวเทียมสามารถโคจรอยู่ได้โดยอาศัยพลังงานแสงอาทิตย์ โดยแผงโซลาร์ (Solar Cell) บนดาวเทียมจะรับพลังงานจากแสงอาทิตย์มาเปลี่ยนใช้งาน
 
ข้อดีและข้อเสียของระบบดาวเทียม
ข้อดี
1. ส่งสัญญาณครอบคลุมไปยังทุกจุดของโลกได้
2. ค่าใช้จ่ายในการให้บริการส่งข้อมูลของระบบดาวเทียมไม่ขึ้นอยู่กับระยะทางที่ห่างกันของสถานีพื้นดิน
ข้อเสีย 
มีเวลาหน่วง (Delay Time) ในการส่งสัญญาณ
ดาวเทียม (Satellite) ได้รับการพัฒนาขึ้นมาเพื่อหลีกเลี่ยงข้อจำกัดของสถานีรับ-ส่งไมโครเวฟบนผิว โลก วัตถุประสงค์ในการสร้างดาวเทียมเพื่อเป็นสถานีรับ-ส่งสัญญาณไมโครเวฟบนอวกาศ และทวนสัญญาณในแนวโคจรของโลก ในการส่งสัญญาณดาวเทียมจะต้องมีสถานีภาคพื้นดินคอยทำหน้าที่รับและส่งสัญญาณ ขึ้นไปบนดาวเทียม ที่โคจรอยู่สูงจากพื้นโลก 22,300 ไมล์ โดยดาวเทียมเหล่านั้นจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่เท่ากับการหมุนของโลก จึงเสมือนกับดาวเทียมนั้นนิ่งอยู่กับที่ขณะที่โลกหมุนรอบตัวเอง ทำให้การส่งสัญญาณไมโครเวฟจากสถานีหนึ่งขึ้นไปบนดาวเทียมและการกระจายสัญญาณ จากดาวเทียมลงมายังสถานีตามจุดต่างๆ บนผิวโลกเป็นไปอย่างแม่นยำ เราสามารถส่งดาวเทียมชนิด Geostationary ซึ่งหมุนโคจรด้วยความเร็วเท่ากับโลก โดยนำขึ้นไปโคจรเหนือผิวโลกเพียง 3 ดวง ก็สามารถครอบคลุมการสื่อสารได้ทั่วโลก ดาวเทียมดวงหนึ่งส่งสัญญาณในบริเวณกว้างเท่ากับ 1 ใน 3 ของโลก (120 องศา) ดังนั้นดาวเทียมเพียง 3 ดวงก็คลอบคลุมบริเวณพื้นโลกได้ทั้งหมด (360 องศา) ดาวเทียมสามารถโคจรอยู่ได้โดยอาศัยพลังงานแสงอาทิตย์ โดยแผงโซลาร์ (Solar Cell) บนดาวเทียมจะรับพลังงานจากแสงอาทิตย์มาเปลี่ยนใช้งาน
 
ข้อดีและข้อเสียของระบบดาวเทียม
ข้อดี
1. ส่งสัญญาณครอบคลุมไปยังทุกจุดของโลกได้
2. ค่าใช้จ่ายในการให้บริการส่งข้อมูลของระบบดาวเทียมไม่ขึ้นอยู่กับระยะทางที่ห่างกันของสถานีพื้นดิน
ข้อเสีย 
มีเวลาหน่วง (Delay Time) ในการส่งสัญญาณ
 
ดาวเทียม (Satellite) ได้รับการพัฒนาขึ้นมาเพื่อหลีกเลี่ยงข้อจำกัดของสถานีรับ-ส่งไมโครเวฟบนผิว โลก วัตถุประสงค์ในการสร้างดาวเทียมเพื่อเป็นสถานีรับ-ส่งสัญญาณไมโครเวฟบนอวกาศ และทวนสัญญาณในแนวโคจรของโลก ในการส่งสัญญาณดาวเทียมจะต้องมีสถานีภาคพื้นดินคอยทำหน้าที่รับและส่งสัญญาณ ขึ้นไปบนดาวเทียม ที่โคจรอยู่สูงจากพื้นโลก 22,300 ไมล์ โดยดาวเทียมเหล่านั้นจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่เท่ากับการหมุนของโลก จึงเสมือนกับดาวเทียมนั้นนิ่งอยู่กับที่ขณะที่โลกหมุนรอบตัวเอง ทำให้การส่งสัญญาณไมโครเวฟจากสถานีหนึ่งขึ้นไปบนดาวเทียมและการกระจายสัญญาณ จากดาวเทียมลงมายังสถานีตามจุดต่างๆ บนผิวโลกเป็นไปอย่างแม่นยำ เราสามารถส่งดาวเทียมชนิด Geostationary ซึ่งหมุนโคจรด้วยความเร็วเท่ากับโลก โดยนำขึ้นไปโคจรเหนือผิวโลกเพียง 3 ดวง ก็สามารถครอบคลุมการสื่อสารได้ทั่วโลก ดาวเทียมดวงหนึ่งส่งสัญญาณในบริเวณกว้างเท่ากับ 1 ใน 3 ของโลก (120 องศา) ดังนั้นดาวเทียมเพียง 3 ดวงก็คลอบคลุมบริเวณพื้นโลกได้ทั้งหมด (360 องศา) ดาวเทียมสามารถโคจรอยู่ได้โดยอาศัยพลังงานแสงอาทิตย์ โดยแผงโซลาร์ (Solar Cell) บนดาวเทียมจะรับพลังงานจากแสงอาทิตย์มาเปลี่ยนใช้งาน
 
ข้อดีและข้อเสียของระบบดาวเทียม
ข้อดี
1. ส่งสัญญาณครอบคลุมไปยังทุกจุดของโลกได้
2. ค่าใช้จ่ายในการให้บริการส่งข้อมูลของระบบดาวเทียมไม่ขึ้นอยู่กับระยะทางที่ห่างกันของสถานีพื้นดิน
ข้อเสีย 
มีเวลาหน่วง (Delay Time) ในการส่งสัญญาณ
 
ดาวเทียม (Satellite) ได้รับการพัฒนาขึ้นมาเพื่อหลีกเลี่ยงข้อจำกัดของสถานีรับ-ส่งไมโครเวฟบนผิว โลก วัตถุประสงค์ในการสร้างดาวเทียมเพื่อเป็นสถานีรับ-ส่งสัญญาณไมโครเวฟบนอวกาศ และทวนสัญญาณในแนวโคจรของโลก ในการส่งสัญญาณดาวเทียมจะต้องมีสถานีภาคพื้นดินคอยทำหน้าที่รับและส่งสัญญาณ ขึ้นไปบนดาวเทียม ที่โคจรอยู่สูงจากพื้นโลก 22,300 ไมล์ โดยดาวเทียมเหล่านั้นจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่เท่ากับการหมุนของโลก จึงเสมือนกับดาวเทียมนั้นนิ่งอยู่กับที่ขณะที่โลกหมุนรอบตัวเอง ทำให้การส่งสัญญาณไมโครเวฟจากสถานีหนึ่งขึ้นไปบนดาวเทียมและการกระจายสัญญาณ จากดาวเทียมลงมายังสถานีตามจุดต่างๆ บนผิวโลกเป็นไปอย่างแม่นยำ เราสามารถส่งดาวเทียมชนิด Geostationary ซึ่งหมุนโคจรด้วยความเร็วเท่ากับโลก โดยนำขึ้นไปโคจรเหนือผิวโลกเพียง 3 ดวง ก็สามารถครอบคลุมการสื่อสารได้ทั่วโลก ดาวเทียมดวงหนึ่งส่งสัญญาณในบริเวณกว้างเท่ากับ 1 ใน 3 ของโลก (120 องศา) ดังนั้นดาวเทียมเพียง 3 ดวงก็คลอบคลุมบริเวณพื้นโลกได้ทั้งหมด (360 องศา) ดาวเทียมสามารถโคจรอยู่ได้โดยอาศัยพลังงานแสงอาทิตย์ โดยแผงโซลาร์ (Solar Cell) บนดาวเทียมจะรับพลังงานจากแสงอาทิตย์มาเปลี่ยนใช้งาน
 
ข้อดีและข้อเสียของระบบดาวเทียม
ข้อดี
1. ส่งสัญญาณครอบคลุมไปยังทุกจุดของโลกได้
2. ค่าใช้จ่ายในการให้บริการส่งข้อมูลของระบบดาวเทียมไม่ขึ้นอยู่กับระยะทางที่ห่างกันของสถานีพื้นดิน
ข้อเสีย 
มีเวลาหน่วง (Delay Time) ในการส่งสัญญาณ

ยินดีต้อนรับนายนพรัตน์ แก้วกำเนิด 565702009

ชื่อ            นายนพรัตน์  แก้วกำเนิด
ชื่อเล่น      เอ็กซ์
ที่อยู่          165 ม 7  ต คลองใหญ๋ อ ตะโหมด จ พัทลุง
เบอร์โทร   0841990941
อีเมล         xxnopparat@gmail.com